สรรพคุณของกัดลิ้น
- ผลสุกใช้รับประทานเป็นยารักษาแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ (ผลสุก)
- ช่วยขับลมในลำไส้ (ราก)
- ชาวอีสานใช้กัดลิ้นเป็นส่วนผสมในยารักษาโรคริดสีดวงทวาร (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
- กัดลิ้นช่วยห้ามเลือด ใช้ชำระล้างบาดแผล (เปลือก)
- ช่วยสมานบาดแผล (เปลือก)
- ช่วยรักษาแผลเปื่อย (เนื้อผลสุก)
- ช่วยแก้หิดสุกหิดเปื่อย
ด้วยการนำมาต้มทั้งเปลือกทั้งแก่นผสมกับยาอื่น (แก่น, เปลือก)
- ช่วยบำรุงเส้นเอ็น แก้เส้นเอ็นพิการ (ราก, ต้น)
- ช่วยแก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย (ราก)
ประโยชน์กัดลิ้น
- ผลสุกมีรสหวานใช้รับประทานเป็นผลไม้ได้
- ผลสุกนำมาใช้ทำส้มตำร่วมกับผลตะโก
- เนื้อไม้หรือลำต้นใช้สำหรับการก่อสร้าง
- เนื้อไม้สามารถนำมาใช้ทำเป็นฟืนที่ให้ความร้อนสูงได้
แหล่งข้อมูล :
1. ข้อมูลพรรณไม้. สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
"กัดลิ้น".
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.rspg.or.th. [15 พ.ย. 2013].
2. ระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). "กัดลิ้น ลำไยป่า มะค่าลิ้น",
"กัดลิ้น, มะค่าลิ้น". [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: www.bedo.or.th.
[15 พ.ย. 2013].
3. โรงเรียนน้ำดิบวิทยาคม. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: www.ndk.ac.th.
[15 พ.ย. 2013].
4. การสำรวจทรัพยากรป่าไม้เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพ
สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 9 (อุบลราชธานี). "กัดลิ้น". [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: inven.dnp9.com.
[15 พ.ย. 2013].
5. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. อ้างอิงใน: หนังสือพรรณไม้พื้นบ้านอีสาน เล่ม 1. (สุทธิรา ขุมกระโทก). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: th.wikipedia.org.
[15 พ.ย. 2013].
6. Medthai.co “กัดลิ้น
สรรพคุณและประโยชน์ของกัดลิ้น 13 ข้อ ! (ลำไยป่า)” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://medthai.com/กัดลิ้น/ [18/04/2019]
7. ภาพประกอบ : www.copper.msu.ac.th,
www.thaiplantpics.blogspot.com (by วิษณุรักษ์ ศรีบัณฑิต)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น